
โครงการ พัฒนาบุคลากรคณะครุศาสตร์เพื่อยกระดับสู่ความเป็นเลิศ ประจำปีงบประมาณ 2567
สรุปและประเมินผลตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการพัฒนาบุคลากรคณะครุศาสตร์เพื่อยกระดับ
สู่ความเป็นเลิศ ประจำปีงบประมาณ 2567 ณ จังหวัดจันทบุรี
แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการพัฒนาบุคลากรคณะครุศาสตร์เพื่อยกระดับสู่ความเป็นเลิศ ประจำปีงบประมาณ 2567 ฉบับนี้ จัดทำขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลลัพธ์ของการประเมินความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการพัฒนาบุคลากรคณะครุศาสตร์เพื่อยกระดับสู่ความเป็นเลิศ ประจำปีงบประมาณ 2567 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 51 คน โดยมีรายละเอียดดังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
1.1 เพศ
ชาย
27
คน
หญิง
24
คน
1.2 สถานะ
บุคลากรสายวิชาการ
37
คน
บุคลากรสายสนับสนุน
14
คน
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการพัฒนาบุคลากร
รายการ
X
S.D.
2.1 ความพึงพอใจที่มีต่อนโยบายและเป้าหมายของการพัฒนาความรู้และทักษะของ
บุคลากร
4.35
0.74
2.2 ความพึงพอใจที่มีต่อแผนการพัฒนาบุคลากรของหน่วยงาน
4.39
0.72
2.3 ความพึงพอใจที่มีต่อการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงการพัฒนาบุคลากร
4.16
0.89
2.4 ความพึงพอใจที่มีต่อระยะเวลาในการพัฒนาบุคลากรของโครงการ
4.45
0.76
2.5 ความพึงพอใจที่มีต่อการเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผนโครงการ
พัฒนาบุคลากร
4.37
0.79
2.6 ความพึงพอใจต่อเนื้อหาที่ได้กำหนดในกิจกรรมของโครงการพัฒนาบุคลากร
4.31
0.73
2.7 ความพึงพอใจในรูปแบบและวิธีการของโครงการพัฒนาบุคลากร
4.18
0.72
2.8 ความพึงพอใจต่อประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการพัฒนาบุคลากร
4.37
0.72
2.9 ความพึงพอใจโดยรวมต่อโครงการพัฒนาบุคลากร
4.41
0.61
ตอนที่ 3 องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาดูงาน (กิจกรรมในโครงการ)
3.1 องค์ความรู้ที่ได้จากศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PTRU Model ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ รำไพพรรณี
-มรภ.รำไพพรรณี แนะนำได้ดีกว่า ม.ของเรา
-แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของนักศึกษาครู
-ดีมากค่ะแลกเปลี่ยนเรีบนรู้
-เข้าใจ PTRU Model มากขึ้น
-มาก
-ได้ความรู้และเข้าใจดี
-ได้ทราบแนวทางการพัฒนาสาขาให้อยู่รอด
-แชร์ประสบการสร้างความมั่นคงของการเรียนรู้
-ได้คุยถึงแนวทางการจัดกิจกรรม
-การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน
-ดี
-ได้นำแนวทางการนำ PTRU Model มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณณีมาปรับกับคณะและสาขา
-ได้เครือข่ายในการวางแผนพัฒนานักศึกษา
-ดี
-เห็นสถานที่ตั้งมหาลัย ไม่ได้ตั้งอยู่ในตัวเมืองเหมือนเรานักศึกษาก็ยังตามไปเรียน แสดงให้เห็นว่าความทันสมัยก็ไม่จำเป็นเท่าไร นักศึกษาอาจชอบใกล้ชิดธรรมชาติความเป็นส่วนตัว
ทำให้ทราบถึงการทำงานของมหาลัยอื่น ชัดเจนและมองเห็นภาพการทำงาน ตามตัวชี้วัดว่าจะต้องทำอย่างไร
-การบริหารหลักสูตร
-ได้ความรู้เกี่ยวกับสายงานของตัวเอง
-ขั้นตอนการพัฒนานักศึกษาครู
-สมรรถนะที่นักศึกษาต้องได้รับการพัฒนา 17 สมรรถนะ
-เห็นรูปแบบการพัฒนา และการส่งเสริมและการสนับสนุน
-ได้กระบวนการถ่ายถอด PTRU Model ที่เข้าใจง่ายขึ้น
-แนวทางการดำเนินงาน
-17 สมรรถนะ
-การบริหารจัดการในหน่วยงาน
-มาก
-มากที่สุด
-ดีมาก ได้แนวคิดและมีการต้อนรับเป็นอย่างดี
-กระบวนการดำเนินงาน
-การจัดระบบและสิ่งที่อ.ควรมี สิ่งที่นศ.ได้รับ
-สมรรถนะรายชั้นปีตามกรอบ PTRIU model
-ดี
-ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการเรียนการสอนวิชาเอกเดียวกันกับมหาวิทยาลัยอื่น
-ดี
-การจัดการเรียนรู้
3.2 องค์ความรู้ที่ได้จากศูนย์ศึกษาอ่างคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
-ดี
-พืชไม้ดินเค็ม / การเพราะกล้าไม้
-ประสบการณ์ตรงนำมารับใช้
-เข้าใจระบบการบริหารจัดการ
-มาก
-ได้ศึกษาของธรรมชาติที่สวยงามของป่าไม้
-ชนิดของต้นไม้และการปลูก
-พันธุ์ไม้ชนิดต่าง ๆ
-ได้รับความรู้เรื่อง ประโยชน์ของพรรณพืช ได้สำรวจธรรมชาติ
-การปลูกพืชพรรณไม้ที่เหมาะสมต่อสิ่งแวดล้อม
-จุดเชื่อมต่อของคน วัตถุ สิ่งแวดล้อม สรุปเป็นบทเรียน
-ดี
-ได้เห็นธรรมชาติของพืชที่แตกต่างแนวทางการฟื้นฟูอนุรักษ์ต้นไม้ให้ยังคงอยู่
-ดินในการขยายพันธุ์พืชแต่ละชนิด (พื้นที่)
-ดี
-เห็นชัดว่าน้ำขึ้น น้ำลง1ป่าโกงกางช่วยซับแรงน้ำคลื่นทะเลไม่ให้กัดเซาะพื้นดินริมฝั่ง เป็นที่อยู่อาศัยของปู ปลาสัตว์ทะเลหลายชนิด
-การริเริ่มปลูกต้นไม้ และการก่อตั้งศูนย์เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการทรัพยากร1ฝั่งอย่างยั่งยืน
-พันธุ์พืชป่า1เลน
-การทำเกษตรพอเพียง
-การพัฒนาแหล่งพืชน้ำเค็ม
-การดูและป่าและธรรมชาติ
-ทราบแนวทางการดำเนินงาน เพื่อเชื่อมต่อในการทำประโยชน์ร่วมก้น
-ได้เรียนรู้ความหลากหลายทางชีวภาพ
-การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการปลูกฝังจิตสำนึกการห่วงใยสิ่งแวดล้อม
-การปลูกต้นไมั
-ได้ศึกษาการปลูกพรรณไม้ต่าง ๆ
-มาก
-มากที่สุด
-ได้เรียนรู้พรรณไม้ชนิดต่าง ๆ และได้ทำการเพาะชำกล้าไม้
-กระบวนการดำเนินงาน
-กระบวนการของทำงานต้นไม้แจกให้ประชาชน
-ไม้ชนิดต่าง ๆ
-ดี
-ได้ศึกษาพืชพรรณธรรมชาติ
-ดี
-การปลูกพรรณไม้
3.3 แนวทางการนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ในการทำงาน
-องค์ความรู้ทุกเรื่องไม่มีสิ้นสุด รอการต่อยอดอยู่เสมอ
-กิจกรรมการเรียนการสอน
-สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้
-มาก
-ได้ความรู้ดี ๆ มาสานต่อ
-พัฒนาการเรียนการสอน
-นำไปเสริมการเรียนการสอน
-นำแนวคิดและความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการทำงาน
-วางแผนระบบการทำงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ
-ดีมาก
-พัฒนาการการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมีสมรรถนะ4ขึ้นครอบคลุม 17 สมรรถนะ
-สร้างเครือข่ายในการพัฒนานักศึกษา ประโยชน์ของธรรมชาติ ตระหนัก เรียนรู้ ดูแลเพื่อความยั่งยืน
-ดี
-"ก็ทำตามหน้าที่ภาระของตัวเอง ให้มีประสิทธิภาพ
-ไม่เป็นภาระขององค์กร"
-ต้องศึกษานโยบายและตัวชี้วัดให้เข้าใจ จึงจะดำเนินงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์
-การบริหารหลักสูตรและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
-การทำงานร่วมกันให้มีความสุขกับเพื่อนร่วมงาน มีใจบริการให้กับนักศึกษาพิการ
-อยู่เย็นเป็นสุข
-นำองค์ความรู้ไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน
-กำลังหาอยู่
-การบูรณาการความรู้ไปใช้กับเศรษฐกิจพอเพียง
-การปรับตัวให้เข้ากับยุคและการอยู่ร่วมกันในสังคม
-ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
-การบริหารจัดการในองค์กร
-มาก
-มากที่สุด
-การอยู่ร่วมสังคม เช่นการทำงานร่วมกับผู้อื่น การใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น เราต้องมีการจัดการที่ดี เช่นถ้าเราได้เป็นหัวหน้าหรือผู้นำกลุ่มการทำงาน เราจะต้องรู้จักการแบ่งงานที่ดีสามารถเลือกคนให้เหมาะสมกับงาน การใช้หลักมนุษสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงานจะทำให้เราทำงานกับผู้อื่นได้ดีมากขึ้น
-การกำหนดระบบและกลไกการดำเนินงาน
-การมีมายเซ็ตร่วมกัน และการประสานงานที่ชัดเจน4ขึ้น
-นำความรู้มาบรูรณาการกับหารพัฒนาครู
-ดี
-เศรษฐกิจพอเพียง
-การจัดการเรียนการสอน
ตอนที่ 4 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ
4.1 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ที่ท่านต้องการเสนอแนะนำเพื่อให้ฝ่ายดำเนินงาน นำไปวางแผนในการจัดโครงการในครั้งถัดไป
-ขอขอบคุณคณะดำเนินงานที่ได้จัดกิจกรรมใจครั้งนี้ให้บุคลากรได้มีกิจกรรมได้ผ่อนคลายร่วมกัน
-ทัวร์ดีมาก แต่คณะชอบเหน็บทัวร์ ทำให้เสีย บรรยากาศ บนรถ น่าจะปล่อยทัวร์บริการเลย และ ไม่ควรแย่งไมค์ ไกค์
-ควรมีการพัฒนาสายวิชาการแบบต่อเนื่อง
-ไม่อยากให้เดินทางกลางคืน
-ควรจัดก่อนช่วงเปิดภาคเรียนเด็กประถม มัธยม
-กิจกรรมล่องแพ ดูเหยี่ยว ควรมีอาหารว่างอื่น ๆ นอกจากเบียร์ เช่น ผลไม้ ขนมขบเคี้ยว
-เยี่ยมมาก
-การจัดสรรเวลาในช่วงจัดกิจกรรม
-อยากให้เน้นเรื่องการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับสมรรถนะ4กว่านี้โดยเจาะลึกลงสู่การ
-ทำงานของสาขาเพื่อเป็นแนวทางในการกลับมาใช้นะดับสาขาได้เพิ่ม4ขึ้นค่ะ
-ดีมาก ควรทำต่อไป
-มีบุคลากรบางคนไม่มีรายชื่อในคำสั่งแต่ก็ร่วมเดินทางไปด้วยแล้วสวมสิทธิ์คนอื่นเข้าห้องคนเดียวล๊อกห้องพักคนเดียว ทำให้บางคนเสียสละนอนหน้าห้องรับแขกห้องโถง เขาก็ได้แต่คิด2ใจตัวเอง ความยุติธรรมมันมีอยู่จริงหรือในองค์การ ?
-กำหนดการเดินทางยืดเย้อ4เกินไป สรุปการศึกษาดูงานครั้งนี้ได้ไปแหล่งท่องเที่ยวจริง ๆ คือ 3 ที่ บ้านไร้แผ่นดิน ป่าโกงกางและวัดเขาสุกิม ทั้งที่ที่เที่ยวมีเยอะ4 แต่ไม่ได้ไปไหน
ควรวางแผนกิจกรรมแต่ละจุดให้ดี เช่นวันที่ 2 เราควรออกจากที่พักแต่เช้าเพื่อไปโครงการในพระราชดำริฯ ทานเที่ยงเสร็จก็เข้าที่พัก1ทะเล ให้ได้ใช้ทรัพยากรขอรีสอร์ทให้คุ้มค่า
-ที่พักรวมไม่ได้นอนเลยครับ
"-ควรมีกิจกรรมให้คณาจารย์และบุคลากรได้มีกิจกรรมสัมพันธ์ร่วมกัน แบบทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรม เพื่อความรู้จักคุ้นเคย สร้างความสัมพันธ์ เช่น แบ่งกลุ่มเล่นเกม การแสดง หรืออื่น ๆ ที่ทุกคนได้พูดคุยทักทาย
-กิจกรรมภาคค่ำควรเรียงลำดับและควบคุมสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ได้มากกว่านี้ "
สื่อสารกันให้มากกว่านี้
-อยากให้มีเวลาเยี่ยมชมสถานที่อื่น ๆมากกว่านี้ ไปครั้งนี้เหมือนไปนั่งรถเล่น ยังไม่ได้ไปแหล่งท่องเที่ยวหลักของจันทบุรีมากนัก (เข่น ชุมชนจันทบูร อนุสาวรีย์พระรนเรศวร)
-ไม่มึ
-ไม่มี
-เป็นโครงการที่ดีมาก ๆ ขอให้มีการดำเนินกิจกรรมดี ๆ อย่างนี้ทุก ๆ ปี
-ไม่มี
-มีกำหนดการและรายระเอียดที่ชัดเจนขึ้น
-อยากให้มีโครงการแบบนี้เรื่อย ๆ
-ดี
-ควรจัดทริปให้เหมาะสมกับช่วงเวลา จะได้ไม่ปล่อยเวลาทิ้งโดยเปล่าประโยชน์
-ดีครับผม
ผู้รับผิดชอบ ให้ข้อมูล : ฝ่ายบริหาร คณะครุศาสตร์